วันอังคารที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2556


สรุปบทความวิจัยเรื่อง การจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีบทบาทหลักเพื่อสร้างความเข้าใจเชิงมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

ผลการวิจัยพบว่าหลังจากที่จัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีบทบาทหลักและทํากิจกรรมหรือ
แบบฝึกหัดที่สอดคล้องกับแผนการจัดประสบการณ์ทั้ง 8 กิจกรรมนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดีรวมทั้งการทำแบบทดสอบความเข้าใจเชิงมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยเมื่อ
เปรียบเทียบแล้วพบว่านกเรียนมีคะแนนในเรื่องจํานวนและการนับจํานวนอยู่ในระดับดี  ส่วนความ
เข้าใจเชิงมโนทัศน์ในเรื่องการจัดประเภทหรือการจัดหมวดหมู่การจดลำดับ การเปรียบเทียบและ
เรื่องเวลาอยู่ในระดับดี

วันพฤหัสบดีที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2556

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556
คณิตศาสตร์มี 6 สาระ
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
-เข้าใจถึงความหลากหลายและการใช้จำนวนในชีวิตประจำวัน
สาระที่ 2 การวัด
-เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับความยาว ปริมาตร น้ำหนัก และเวลา
สาระที่3 เรขาคณิต
-รู้จักใช้คำในการบอกตำแหน่งทิศทางและระยะทาง
สาระที่4 พีชคณิต
-เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์
สาระที่5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
-รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับตนเิองและสิ่งแวดล้อมนำเสนอ
สาระที่6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์



กลุ่มเพื่อนที่สอบสอน
1.หน่ิวยไข่



2.หน่วยไข่จ๋า



3.หน่วยน้ำ




และอาจารย์ได้นัดให้สอบนอกตาราง


วันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556

กลุ่มเพื่อนได้สอบสอนเรื่องสัตว์น่ารัก

เป็นของกลุ่ม น.ส.วรรณพร จินดาพรหม






วันศุกร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2556

หน่วยการเรียนรู้
1.คณิตศาสตร์
2.วิทยาศาสตร์
3.ภาษา                            
4.ความคิดสร้างสรรค์      
5.สังคม
6.คุณธรรม
7.จริยธรรม
8.กาย

วันจันทร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

 วันที่ 30 มกราคม 2556

การระดมความคิด
-นิทานเวที
-นิทรรศการสื่อ
-เล่นดนตรี
-ร้องเพลง
-เล่านิทาน
-เล่นเกม
-รำ
-งานศิลปะ
-เต้น


1.การสอนเด็กต้องสอนเรื่องใกล้ตัว
2.ประสบการณ์ คือต้องลงมือกระทำ เด็กจึงจะเกิดการเรียนรู้
3.การนับหรือการเรียงต้องเรียงจากซ้ายไปขวา  เพื่อที่จะให้เด็กมีประสบการณ์เป็นพื้นฐานในการจำ
4.การวางตัวเลขจะวางไว้หน้าคำหรือหลังคำก็ได้แต่ต้องอยู่ในตำแหน่งเดียวกันกับคำนั้นๆ
5.การแยกเป็นพื้นฐานของการลบ
6.การรวมเป็นพื้นฐานของกา่รบวก
7.ภาษา/คณิตศาสตร์ เป็นเครื่องมือพัฒนาการเรียนรู้ของมนุษย์
8.ถ้าเด็กยังไม่มีการลงมือกระทำแสดงว่าเด็ก เิกิดการรับรู้เท่านั้น

ร้องเพลง / ลเ่านิทาน / เต้น  3 อย่างนี้สามารถไปใช้ในการเล่านิทานได้ เพื่อให้เด็กเกิดการจดจำ และคิดตามไปด้วย

9.เครื่องมือการวัดที่เป้นทางการไม่ควรนำมาใช้กับเด็ก
10.ควรใช้เครื่องมือที่ไม่เป็นทางการ เช่น คืบ ศอก เป้นต้น








วันศุกร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2556


วันที่ 23 มกราคม 2556

อาจารย์ให้ทำมายแม็บ เพื่อสาระการเรียนรู้ โดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน

กลุ่มของดิฉัน มี
 1.น.ส.ณัฐวดี  ขำสม
2.น.ส.จินตนา แก้วแสงสิม
3.น.ส.นฤมล มลิวัลย์
4.น.ส.พัชรี คำพูล




วันศุกร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2556

วันที่ 16 ธันวาคม 2556

ไม่มีการเรียนการสอนเพราะทางคณะได้จัดงานวันครู