วันอังคารที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2556


สรุปบทความวิจัยเรื่อง การจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีบทบาทหลักเพื่อสร้างความเข้าใจเชิงมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

ผลการวิจัยพบว่าหลังจากที่จัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีบทบาทหลักและทํากิจกรรมหรือ
แบบฝึกหัดที่สอดคล้องกับแผนการจัดประสบการณ์ทั้ง 8 กิจกรรมนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดีรวมทั้งการทำแบบทดสอบความเข้าใจเชิงมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยเมื่อ
เปรียบเทียบแล้วพบว่านกเรียนมีคะแนนในเรื่องจํานวนและการนับจํานวนอยู่ในระดับดี  ส่วนความ
เข้าใจเชิงมโนทัศน์ในเรื่องการจัดประเภทหรือการจัดหมวดหมู่การจดลำดับ การเปรียบเทียบและ
เรื่องเวลาอยู่ในระดับดี

วันพฤหัสบดีที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2556

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556
คณิตศาสตร์มี 6 สาระ
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
-เข้าใจถึงความหลากหลายและการใช้จำนวนในชีวิตประจำวัน
สาระที่ 2 การวัด
-เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับความยาว ปริมาตร น้ำหนัก และเวลา
สาระที่3 เรขาคณิต
-รู้จักใช้คำในการบอกตำแหน่งทิศทางและระยะทาง
สาระที่4 พีชคณิต
-เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์
สาระที่5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
-รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับตนเิองและสิ่งแวดล้อมนำเสนอ
สาระที่6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์



กลุ่มเพื่อนที่สอบสอน
1.หน่ิวยไข่



2.หน่วยไข่จ๋า



3.หน่วยน้ำ




และอาจารย์ได้นัดให้สอบนอกตาราง


วันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556

กลุ่มเพื่อนได้สอบสอนเรื่องสัตว์น่ารัก

เป็นของกลุ่ม น.ส.วรรณพร จินดาพรหม






วันศุกร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2556

หน่วยการเรียนรู้
1.คณิตศาสตร์
2.วิทยาศาสตร์
3.ภาษา                            
4.ความคิดสร้างสรรค์      
5.สังคม
6.คุณธรรม
7.จริยธรรม
8.กาย

วันจันทร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

 วันที่ 30 มกราคม 2556

การระดมความคิด
-นิทานเวที
-นิทรรศการสื่อ
-เล่นดนตรี
-ร้องเพลง
-เล่านิทาน
-เล่นเกม
-รำ
-งานศิลปะ
-เต้น


1.การสอนเด็กต้องสอนเรื่องใกล้ตัว
2.ประสบการณ์ คือต้องลงมือกระทำ เด็กจึงจะเกิดการเรียนรู้
3.การนับหรือการเรียงต้องเรียงจากซ้ายไปขวา  เพื่อที่จะให้เด็กมีประสบการณ์เป็นพื้นฐานในการจำ
4.การวางตัวเลขจะวางไว้หน้าคำหรือหลังคำก็ได้แต่ต้องอยู่ในตำแหน่งเดียวกันกับคำนั้นๆ
5.การแยกเป็นพื้นฐานของการลบ
6.การรวมเป็นพื้นฐานของกา่รบวก
7.ภาษา/คณิตศาสตร์ เป็นเครื่องมือพัฒนาการเรียนรู้ของมนุษย์
8.ถ้าเด็กยังไม่มีการลงมือกระทำแสดงว่าเด็ก เิกิดการรับรู้เท่านั้น

ร้องเพลง / ลเ่านิทาน / เต้น  3 อย่างนี้สามารถไปใช้ในการเล่านิทานได้ เพื่อให้เด็กเกิดการจดจำ และคิดตามไปด้วย

9.เครื่องมือการวัดที่เป้นทางการไม่ควรนำมาใช้กับเด็ก
10.ควรใช้เครื่องมือที่ไม่เป็นทางการ เช่น คืบ ศอก เป้นต้น








วันศุกร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2556


วันที่ 23 มกราคม 2556

อาจารย์ให้ทำมายแม็บ เพื่อสาระการเรียนรู้ โดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน

กลุ่มของดิฉัน มี
 1.น.ส.ณัฐวดี  ขำสม
2.น.ส.จินตนา แก้วแสงสิม
3.น.ส.นฤมล มลิวัลย์
4.น.ส.พัชรี คำพูล




วันศุกร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2556

วันที่ 16 ธันวาคม 2556

ไม่มีการเรียนการสอนเพราะทางคณะได้จัดงานวันครู

วันพุธที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2556

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556

กลุ่มเพื่อนสอบสอน เรื่อง สัตว์น่ารัก

เป้นกลุ่มของน.ส.วรรณพร จินดาพรหม

อาจารย์ได้ยกตัวอย่าง รูปแบบการสอน

     

วันศุกร์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2556

วันที่ 9 มกราคม 2556


จำนวน - วันนี้นักเรียนมากี่คน / ได้เงินมากี่บาท/จำนวนอาคารในโรงเรียน/ราคาข้าวในโรงอาหาร
การแทนด้วยตัวเลข - เขียน / นำสัญลักษณ์มาวาง
การสร้างสื่อการสอน - อย่าให้ยึดติดกับผนัง ต้องคำนึงถึงประโยชน์การใช้งาน

วันอังคารที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2556

วันที่ 2 มกราคม 2556

วันนี้อาจารย์ได้นัดส่งงานที่ได้รับมอบหมายไปในสัปดาห์ก่อนหน้านี้